
“มาตรฐานอาชีพ” หมายความว่า การกำหนดระดับสมรรถนะของบุคคลในการประกอบอาชีพ โครงการจัดทำมาตรฐานอาชีพ พร้อมทั้งพัฒนาระบบการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ มีการดำเนินงานในการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ รวมทั้ง ส่งเสริม สนับสนุนกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มวิชาชีพในการจัดทำมาตรฐานอาชีพ กล่าวคือ ต้องการที่จะให้การรับรอง ความรู้ ความเชี่ยวชาญและทักษะทางด้านวิชาชีพ โดยกำหนดระดับสมรรถนะของบุคคลให้เป็นมาตรฐาน สากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันประเทศ ทั้งนี้ ในการดำเนินงานของสถาบันฯ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ที่ผ่านมาได้มีโครงการจัดทำมาตรฐานอาชีพในหลายสาขาอาชีพ มีผลการดำเนินงานตามโครงการ
เข้าสู่ระบบศูนย์กลางข้อมูลคุณวุฒิวิชาชีพเพื่อตรวจสอบมาตรฐานอาชีพ
และ องค์กรรับรองสมรรถนะของบุคคลตามาตรฐานอาชีพ
- 1. สาขาวิชาชีพบริการยานยนต์
- 2. สาขาวิชาชีพอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปะหัตถกรรม
- สาขางานเครื่องปั้นดินเผา
- สาขางานเครื่องถม
- สาขางานผ้าทอ
- สาขางานเครื่องจักสาน
- 3. สาขาวิชาชีพธุรกิจจัดดอกไม้
- สาขาวิชาชีพธุรกิจเสริมสวย
- อาชีพช่างทำผมสตรี
- อาชีพช่างทำผมบุรุษ
-
-
4. สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิตอลคอนเทนต์
- สาขาฮาร์ดแวร์ (Hardware)
- สาขาเครือข่ายและความปลอดภัย (Network and Security)
- สาขาซอฟต์แวร์และการประยุกต์ (Software and Applications)
- สาขาแอนิเมชัน (Animation)
- สาขาการสื่อสารโทรคมนาคม(Telecommunication)
- สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
-
-
5. สาขาวิชาชีพโลจิสติกส์
- สาขางานส่งออกและนำเข้า
-
- สาขางานจัดการขนส่ง
- สาขางานจัดซื้อ จัดหา และจัดจ้าง
- สาขางานจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
- สาขางานจัดการคลังสินค้า
- สินค้าคงคลัง และการกระจายสินค้า
- 6. สาขาวิชาชีพแมคคาทรอนิกส์
-
-
7. สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
-
-
8. สาขาถ่ายภาพ
-
-
9. สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์
-
-
10. สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
-
-
11. สาขาวิชาชีพขนส่งชุมชน
- อาชีพผู้ขับขี่รถยนต์โดยสารสาธารณะ (แท็กซี่)
-
-
12. สาขาวิชาชีพรถไฟความเร็วสูงและระบบราง
-
สาขาวิชาชีพสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
-
-
13. สาขาวิชาชีพการท่องเที่ยว การโรงแรม ภัตตาคาร และร้านอาหาร
- 14. สาขากิจกรรมบริการเพื่อเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย (ยกเว้นกิจกรรมด้านการกีฬา)